Le mastaba, construction quasi-rectangulaire, était la sépulture des souverains de l'Ancien Empire.
Les raisons du passage des mastabas aux pyramides ne sont pas clairement établies, mais on évoque généralement le souhait d'atteindre des hauteurs de plus en plus importantes pour manifester l'importance et la puissance du pharaon défunt. Les premiers mastabas, à étage unique, ont tout d'abord évolué vers des mastabas à deux étages permettant d'accueillir de nouvelles structures funéraires, le second étage étant moins large et moins haut que le premier.
Avec les débuts de la IIIe dynastie (vers -2700 à -2600), les mastabas sont devenus des pyramides dites à degrés, constituées de plusieurs étages successifs ayant la forme globale d'un « escalier gigantesque » s'élevant vers le ciel. La première et la plus célèbre de ces pyramides à degrés est la pyramide de Djéser à Saqqarah, dont l'architecte était Imhotep. Imhotep voulut ériger une pyramide à degrés s'élevant, tel un escalier gigantesque, vers le ciel afin de symboliser l'ascension du défunt du « monde souterrain » vers les « Cieux ».
L'étape suivante de l'évolution des pyramides à degrés fut l'édification par le roi Snéfrou d'une pyramide dite rhomboïdale sur le site de Dahchour. La pyramide rhomboïdale est une étape intermédiaire entre la pyramide à degrés et la pyramide à faces lisses. La pyramide rhomboïdale est une pyramide dont les faces lisses constituent une pente à sections d'inclinaisons décroissantes en direction du sommet. La non-uniformité de cette pente pourrait être expliquée par des difficultés architecturales vis-à-vis de la stabilité de la pyramide (pente originale trop abrupte) ou de son mode de construction (acheminement des blocs jusqu'à une certaine hauteur…), de difficultés d'approvisionnement (carrières, main-d'œuvre, situation géopolitique), ou encore un effet géométrique volontaire.
Ce type de pyramide est la dernière étape menant au stade ultime de l'évolution des pyramides d'Égypte vers les pyramides à faces lisses de la IVe dynastie (vers -2573 à -2454), parmi les plus célèbres on trouve les pyramides de Khéops, Khéphren, et Mykérinos, à Gizeh au Caire.
พีระมิด (Pyramid) ใน ประเทศอียิปต์ (Egypt) มีมากมายหลายแห่งด้วยกันแต่ที่มีชื่อเสียงที่สุด ได้แก่หมู่พีระมิดแห่ง กิซ่า (Giza) ซึ่งประกอบไปด้วย พีระมิดคีออปส์ (Cheops) คีเฟรน (Chephren) และแมนคีเร (Menkaure) พีระมิดทั้งสามสร้างเรียงต่อกันเป็นระยะทางกว่า 1 กิโลเมตร ทางทิศตะวันตกของกรุงไคโร เมืองหลวงของประเทศอียิปต์ปัจจุบัน ด้วยโครงสร้างรูปทรงเรขาคณิตเฉพาะตัว ทำให้สามารถสังเกตเห็นได้ในระยะไกล รวมทั้งจาก อวกาศ
พีระมิดคีออปส์ หรือที่นิยมเรียกกันอีกชื่อหนึ่งว่า "มหาพีระมิด" (the Great Pyramid) เป็นพีระมิดที่ใหญ่โตและเก่าแก่ที่สุดในหมู่พีระมิดทั้งสามแห่งกิซ่า เชื่อกันว่าสร้างขึ้นในสมัยฟาโรห์คูฟู (Khufu) แห่งราชวงศ์ที่ 4 ซึ่งปกครองอาณาจักรอียิปต์โบราณในยุคสัมฤทธิ์ (Bronze Age) เมื่อประมาณ 2,600 ปีก่อนคริสตกาลหรือกว่า 4,600 ปีมาแล้ว เพื่อเป็นที่เก็บรักษาพระศพตามธรรมเนียมความเชื่อของชาวอียิปต์ในยุคนั้น มหาพีระมิดแห่งคีออปส์ได้รับยกย่องให้เป็นหนึ่งใน เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก และเป็นหนึ่งเดียวในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ยุคโบราณที่ยังคงอยู่มาจนถึงปัจจุบัน
ยอดพีระมิดคีออปส์เมื่อสร้างเสร็จสูง 147 เมตร (481 ฟุต หรือประมาณเท่ากับอาคารสูง 40 ชั้น เมื่อคิดความสูงที่ชั้นละ 3.6 เมตร) โดยที่ปัจจุบันส่วนยอดสึกกร่อนหายไปประมาณ 10 เมตร ยังคงเหลือความสูงประมาณ 137 เมตร นับจากก่อสร้างแล้วเสร็จพีระมิดคีออปส์นับเป็นสิ่งก่อสร้างสูงที่สุดในโลก เป็นเวลาต่อเนื่องยาวนานถึง 43 ศตวรรษ จนกระทั่งมีการก่อสร้างวิหาร Lincoln Cathedral ที่ประเทศอังกฤษซึ่งมียอดวิหารสูง 160 เมตรในปี ค.ศ. 1300 ต่อมายอดวิหารนี้ถูกพายุทำลายในปี ค.ศ. 1549 แต่ในขณะนั้นส่วนยอดของพีรามิดคีออปส์ก็สึกกร่อนลงจนมีความสูงไม่ถึง 140 เมตร ทำให้ วิหาร St. Olav's Church ในแอสโทเนีย (Estonia) ซึ่งเพิ่งก่อสร้างแล้วเสร็จในปี ค.ศ. 1519 กลายเป็นสิ่งก่อสร้างสูงที่สุดในโลกด้วยความสูงของยอดวิหาร 159 เมตร
รูปทรงของพีระมิดมีลักษณะเฉพาะตัว ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส ประกอบด้วยด้านสามเหลี่ยม 4 ด้านยอดสามเหลี่ยมแต่ละด้านเอียงเข้าบรรจบกันเป็นยอดแหลม ฐานทั้ง 4 ด้านของพีระมิดคีออปส์กว้างด้านละประมาณ 230 เมตร (756 ฟุต กว้างกว่า สนามฟุตบอลต่อกัน 2 สนาม) คิดเป็นพื้นที่ฐานประมาณ 53,000 ตารางเมตรหรือประมาณ 33 ไร่ มีข้อสังเกตว่าแต่ละด้านของฐานพีระมิดมีความกว้างคลาดเคลื่อนจากกันเพียงไม่เกิน 8 นิ้ว หรือคิดเป็น 0.09% ซึ่งถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับขนาดงานก่อสร้างและระดับเทคโนโลยีในขณะนั้นฐานล่างสุดของพีระมิดก่อขึ้นบนชั้นหินแข็งซึ่งอยู่ลึกลงไปใต้ชั้นทรายเพื่อป้องกันปัญหาการทรุดตัวของชั้นทรายซึ่งจะมีผลกับความคงทนแข็งแรงของโครงสร้างพีระมิด ผิวหน้าพีระมิดแต่ละด้านทำมุมเอียงประมาณ 52 องศา ซึ่งมีส่วนทำให้พีระมิดคงทนต่อการสึกกร่อนอันเนื่องมาจากพายุทราย สิ่งที่น่าสังเกตอย่างหนึ่งคือด้านทั้ง 4 ของพีระมิดหันออกในแนวทิศ เหนือ ใต้ ตะวันออก ตะวันตก ถูกต้องแม่นยำตามทิศจริงไม่ใช่ตามทิศเหนือแม่เหล็กจึงไม่ใช่การกำหนดทิศด้วยเข็มทิศ และแสดงถึงความสามารถในการประยุกต์ความรู้ ทางดาราศาสตร์ของชาวอียิปต์โบราณ มาใช้กำหนดทิศทางได้เป็นอย่างดี
ตามที่มีข้อมูลปรากฏในแหล่งต่างๆ อ้างถึงจำนวนหินที่นำมาก่อสร้างพีระมิดคีออปส์ต่างๆ กันไปตั้งแต่ 2 ล้านถึง 2.6 ล้านก้อน ประมาณน้ำหนักเฉลี่ยก้อนละ 2.5 เมตริกตัน โดยจัดเรียงซ้อนกันขึ้นไปประมาณ 200 ชั้น คิดเป็นน้ำหนักรวมกว่า 6 ล้านเมตริกตัน [1] เปรียบเทียบกับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กอย่าง ตึกเอ็มไพร์สเตท (Empire State Building) อดีตตึกระฟ้าสูงที่สุดในโลกซึ่งมีน้ำหนักรวม 365,000 เมตริกตัน จะพบว่า พีระมิดคีออปส์ มีน้ำหนักมากกว่า ตึกเอ็มไพร์สเตท ถึงประมาณ 16 เท่าครึ่ง และเมื่อเปรียบเทียบกับ อาคารไทเป 101 (Taipei 101) อาคารสูงที่สุดในโลก ณ ปี ค.ศ. 2006 ซึ่งมีน้ำหนักรวม 700,000 เมตริกตัน พีระมิดคีออปส์ ยังคงมีน้ำหนักมากกว่า อาคารไทเป 101 ถึง 8 เท่าครึ่ง
Les raisons du passage des mastabas aux pyramides ne sont pas clairement établies, mais on évoque généralement le souhait d'atteindre des hauteurs de plus en plus importantes pour manifester l'importance et la puissance du pharaon défunt. Les premiers mastabas, à étage unique, ont tout d'abord évolué vers des mastabas à deux étages permettant d'accueillir de nouvelles structures funéraires, le second étage étant moins large et moins haut que le premier.
Avec les débuts de la IIIe dynastie (vers -2700 à -2600), les mastabas sont devenus des pyramides dites à degrés, constituées de plusieurs étages successifs ayant la forme globale d'un « escalier gigantesque » s'élevant vers le ciel. La première et la plus célèbre de ces pyramides à degrés est la pyramide de Djéser à Saqqarah, dont l'architecte était Imhotep. Imhotep voulut ériger une pyramide à degrés s'élevant, tel un escalier gigantesque, vers le ciel afin de symboliser l'ascension du défunt du « monde souterrain » vers les « Cieux ».
L'étape suivante de l'évolution des pyramides à degrés fut l'édification par le roi Snéfrou d'une pyramide dite rhomboïdale sur le site de Dahchour. La pyramide rhomboïdale est une étape intermédiaire entre la pyramide à degrés et la pyramide à faces lisses. La pyramide rhomboïdale est une pyramide dont les faces lisses constituent une pente à sections d'inclinaisons décroissantes en direction du sommet. La non-uniformité de cette pente pourrait être expliquée par des difficultés architecturales vis-à-vis de la stabilité de la pyramide (pente originale trop abrupte) ou de son mode de construction (acheminement des blocs jusqu'à une certaine hauteur…), de difficultés d'approvisionnement (carrières, main-d'œuvre, situation géopolitique), ou encore un effet géométrique volontaire.
Ce type de pyramide est la dernière étape menant au stade ultime de l'évolution des pyramides d'Égypte vers les pyramides à faces lisses de la IVe dynastie (vers -2573 à -2454), parmi les plus célèbres on trouve les pyramides de Khéops, Khéphren, et Mykérinos, à Gizeh au Caire.
พีระมิด (Pyramid) ใน ประเทศอียิปต์ (Egypt) มีมากมายหลายแห่งด้วยกันแต่ที่มีชื่อเสียงที่สุด ได้แก่หมู่พีระมิดแห่ง กิซ่า (Giza) ซึ่งประกอบไปด้วย พีระมิดคีออปส์ (Cheops) คีเฟรน (Chephren) และแมนคีเร (Menkaure) พีระมิดทั้งสามสร้างเรียงต่อกันเป็นระยะทางกว่า 1 กิโลเมตร ทางทิศตะวันตกของกรุงไคโร เมืองหลวงของประเทศอียิปต์ปัจจุบัน ด้วยโครงสร้างรูปทรงเรขาคณิตเฉพาะตัว ทำให้สามารถสังเกตเห็นได้ในระยะไกล รวมทั้งจาก อวกาศ
พีระมิดคีออปส์ หรือที่นิยมเรียกกันอีกชื่อหนึ่งว่า "มหาพีระมิด" (the Great Pyramid) เป็นพีระมิดที่ใหญ่โตและเก่าแก่ที่สุดในหมู่พีระมิดทั้งสามแห่งกิซ่า เชื่อกันว่าสร้างขึ้นในสมัยฟาโรห์คูฟู (Khufu) แห่งราชวงศ์ที่ 4 ซึ่งปกครองอาณาจักรอียิปต์โบราณในยุคสัมฤทธิ์ (Bronze Age) เมื่อประมาณ 2,600 ปีก่อนคริสตกาลหรือกว่า 4,600 ปีมาแล้ว เพื่อเป็นที่เก็บรักษาพระศพตามธรรมเนียมความเชื่อของชาวอียิปต์ในยุคนั้น มหาพีระมิดแห่งคีออปส์ได้รับยกย่องให้เป็นหนึ่งใน เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก และเป็นหนึ่งเดียวในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ยุคโบราณที่ยังคงอยู่มาจนถึงปัจจุบัน
ยอดพีระมิดคีออปส์เมื่อสร้างเสร็จสูง 147 เมตร (481 ฟุต หรือประมาณเท่ากับอาคารสูง 40 ชั้น เมื่อคิดความสูงที่ชั้นละ 3.6 เมตร) โดยที่ปัจจุบันส่วนยอดสึกกร่อนหายไปประมาณ 10 เมตร ยังคงเหลือความสูงประมาณ 137 เมตร นับจากก่อสร้างแล้วเสร็จพีระมิดคีออปส์นับเป็นสิ่งก่อสร้างสูงที่สุดในโลก เป็นเวลาต่อเนื่องยาวนานถึง 43 ศตวรรษ จนกระทั่งมีการก่อสร้างวิหาร Lincoln Cathedral ที่ประเทศอังกฤษซึ่งมียอดวิหารสูง 160 เมตรในปี ค.ศ. 1300 ต่อมายอดวิหารนี้ถูกพายุทำลายในปี ค.ศ. 1549 แต่ในขณะนั้นส่วนยอดของพีรามิดคีออปส์ก็สึกกร่อนลงจนมีความสูงไม่ถึง 140 เมตร ทำให้ วิหาร St. Olav's Church ในแอสโทเนีย (Estonia) ซึ่งเพิ่งก่อสร้างแล้วเสร็จในปี ค.ศ. 1519 กลายเป็นสิ่งก่อสร้างสูงที่สุดในโลกด้วยความสูงของยอดวิหาร 159 เมตร
รูปทรงของพีระมิดมีลักษณะเฉพาะตัว ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส ประกอบด้วยด้านสามเหลี่ยม 4 ด้านยอดสามเหลี่ยมแต่ละด้านเอียงเข้าบรรจบกันเป็นยอดแหลม ฐานทั้ง 4 ด้านของพีระมิดคีออปส์กว้างด้านละประมาณ 230 เมตร (756 ฟุต กว้างกว่า สนามฟุตบอลต่อกัน 2 สนาม) คิดเป็นพื้นที่ฐานประมาณ 53,000 ตารางเมตรหรือประมาณ 33 ไร่ มีข้อสังเกตว่าแต่ละด้านของฐานพีระมิดมีความกว้างคลาดเคลื่อนจากกันเพียงไม่เกิน 8 นิ้ว หรือคิดเป็น 0.09% ซึ่งถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับขนาดงานก่อสร้างและระดับเทคโนโลยีในขณะนั้นฐานล่างสุดของพีระมิดก่อขึ้นบนชั้นหินแข็งซึ่งอยู่ลึกลงไปใต้ชั้นทรายเพื่อป้องกันปัญหาการทรุดตัวของชั้นทรายซึ่งจะมีผลกับความคงทนแข็งแรงของโครงสร้างพีระมิด ผิวหน้าพีระมิดแต่ละด้านทำมุมเอียงประมาณ 52 องศา ซึ่งมีส่วนทำให้พีระมิดคงทนต่อการสึกกร่อนอันเนื่องมาจากพายุทราย สิ่งที่น่าสังเกตอย่างหนึ่งคือด้านทั้ง 4 ของพีระมิดหันออกในแนวทิศ เหนือ ใต้ ตะวันออก ตะวันตก ถูกต้องแม่นยำตามทิศจริงไม่ใช่ตามทิศเหนือแม่เหล็กจึงไม่ใช่การกำหนดทิศด้วยเข็มทิศ และแสดงถึงความสามารถในการประยุกต์ความรู้ ทางดาราศาสตร์ของชาวอียิปต์โบราณ มาใช้กำหนดทิศทางได้เป็นอย่างดี
ตามที่มีข้อมูลปรากฏในแหล่งต่างๆ อ้างถึงจำนวนหินที่นำมาก่อสร้างพีระมิดคีออปส์ต่างๆ กันไปตั้งแต่ 2 ล้านถึง 2.6 ล้านก้อน ประมาณน้ำหนักเฉลี่ยก้อนละ 2.5 เมตริกตัน โดยจัดเรียงซ้อนกันขึ้นไปประมาณ 200 ชั้น คิดเป็นน้ำหนักรวมกว่า 6 ล้านเมตริกตัน [1] เปรียบเทียบกับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กอย่าง ตึกเอ็มไพร์สเตท (Empire State Building) อดีตตึกระฟ้าสูงที่สุดในโลกซึ่งมีน้ำหนักรวม 365,000 เมตริกตัน จะพบว่า พีระมิดคีออปส์ มีน้ำหนักมากกว่า ตึกเอ็มไพร์สเตท ถึงประมาณ 16 เท่าครึ่ง และเมื่อเปรียบเทียบกับ อาคารไทเป 101 (Taipei 101) อาคารสูงที่สุดในโลก ณ ปี ค.ศ. 2006 ซึ่งมีน้ำหนักรวม 700,000 เมตริกตัน พีระมิดคีออปส์ ยังคงมีน้ำหนักมากกว่า อาคารไทเป 101 ถึง 8 เท่าครึ่ง